ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์ 


ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Materials and Biomedical Physics

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็มภาษาไทย : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์)
ชื่อย่อภาษาไทย : ปร.ด. (ฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy (Materials and Biomedical Physics)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : Ph.D. (Materials and Biomedical Physics)

ค่าธรรมเนียมการศึกษา

ค่าธรรมเนียมการศึกษาเหมาจ่าย ภาคการศึกษาละ 30,000 บาท

ความสำคัญ ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะทางวิชาการด้านฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์ระดับสูง สามารถทำการวิจัยด้านฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์ที่ซับซ้อน สร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรม สามารถนำความรู้ทางฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์มาพัฒนา ปรับปรุง ดัดแปลง เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับวิถีชีวิต สร้างผลงานวิจัยที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เสริมสร้างศักยภาพของตนเองและสังคม  มีความซื่อสัตย์สุจริต  มีคุณธรรมและจริยธรรม

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1.  อาจารย์หรือนักวิชาการหรือบุคลากรในสถาบันการศึกษาของรัฐหรือเอกชน 

2.  นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย ในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน

3.  นักควบคุมคุณภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรมทางด้านวัสดุสาสตร์และเครื่องมือแพทย์

4.  ที่ปรึกษาเทคโนโลยีขั้นสูง

 

จำนวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ดังนี้ 

1) แบบ 1 แบบ 1.1  จำนวน 48  หน่วยกิต 

2) แบบ 2 แบบ 2.1  ไม่น้อยกว่า 48  หน่วยกิต

3) แบบ 2 แบบ 2.2  ไม่น้อยกว่า 72  หน่วยกิต

 

3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร ดังนี้  

หมวดวิชา/หน่วยกิต

แบบ 1.1*

แบบ 2.1

แบบ 2.2

1. หมวดวิชาเฉพาะ  ไม่น้อยกว่า

 

12

24

1.1 กลุ่มวิชาบังคับ          จำนวน 

-

6

15

1.2 กลุ่มวิชาเลือก       ไม่น้อยกว่า

-

6

9

2. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์     จำนวน

48

36

48

จำนวนหน่วยกิตรวม 

จำนวน 48 หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 48 

หน่วยกิต

ไม่น้อยกว่า 72 

หน่วยกิต

หมายเหตุ: * นักศึกษาแบบ 1.1 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาบังคับ โดยไม่นับหน่วยกิต และมีเกณฑ์การประเมินผลเป็น S หรือ U ตามคำแนะนำของอาจาร์ยที่ปรึกษา

 

แบบ 1.1 

  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมหรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนให้การรับรอง และ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3.50 ขึ้นไป หรือ ถ้ามีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 3.50 จะต้องมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ ไม่น้อยกว่า 1 เรื่อง

  2. มีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาหรือคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนดหรือประกาศมหาวิทยาลัยกำหนด

  3. ไม่เป็นโรคหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคในการศึกษา

  4. คุณสมบัติอื่นตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

  5. หากผู้สมัครมีคุณสมบัติที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ข้างต้นให้อยู่ในดุลยพินิจของที่ประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร




แบบ 2.1 

  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมหรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนให้การรับรอง

  2. มีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาหรือคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนดหรือประกาศมหาวิทยาลัยกำหนด

  3. ไม่เป็นโรคหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคในการศึกษา

  4. คุณสมบัติอื่นตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

  5. หากผู้สมัครมีคุณสมบัติที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ข้างต้นให้อยู่ในดุลยพินิจของที่ประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

แบบ 2.2 

  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาวิชาฟิสิกส์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมหรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนให้การรับรอง และมีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3.50 ขึ้นไป หรือกำลังศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยเรียนมาแล้ว 2 ภาคการศึกษาและมีจำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และมีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3.25 ขึ้นไป 

  2. มีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาหรือคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนดหรือประกาศมหาวิทยาลัยกำหนด

  3. ไม่เป็นโรคหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคในการศึกษา

  4. คุณสมบัติอื่นตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

  5. หากผู้สมัครมีคุณสมบัติที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ข้างต้นให้อยู่ในดุลยพินิจของที่ประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร

รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร 

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์วัสดุและชีวการแพทย์ มีรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร ดังนี้ 

แบบ 1.1 จำนวน 48      หน่วยกิต

1. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน   3      หน่วยกิต*

1.1 กลุ่มวิชาบังคับ

1131 992 สัมมนา 2 (Seminar II)

1 หน่วยกิต*

1131 993 สัมมนา 3 (Seminar III)

1 หน่วยกิต*

1131 994 สัมมนา 4 (Seminar IV)

1 หน่วยกิต*

2. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ จำนวน 48       หน่วยกิต

1131 996 วิทยานิพนธ์  (Thesis)

48 หน่วยกิต

หมายเหตุ: * นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาบังคับ โดยไม่นับหน่วยกิตและมีเกณฑ์การประเมินผลเป็น S หรือ U ตามคำแนะนำของอาจาร์ยที่ปรึกษา

 

แบบ 2.1 ไม่น้อยกว่า 48      หน่วยกิต

1. หมวดวิชาเฉพาะ  ไม่น้อยกว่า 12     หน่วยกิต

1.1 กลุ่มวิชาบังคับ

จำนวน

6

หน่วยกิต

1131 901 ระเบียบวิธีวิจัยทางฟิสิกส์ (Research Methods in Physics)

3(3-0-9)

1131 992 สัมมนา 2 (Seminar II)

1 หน่วยกิต

1131 993 สัมมนา 3 (Seminar III)

1 หน่วยกิต

1131 994 สัมมนา 4 (Seminar IV)

1 หน่วยกิต

 

1.2 กลุ่มวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6     หน่วยกิต 

นักศึกษาสามารถเลือกรายวิชาแบบคละกลุ่มได้รวมกันไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ที่สอดคล้องกับขอบเขตความเชี่ยวชาญในงานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 

1.2.1 กลุ่มวิชาฟิสิกส์ทฤษฎี

 

1131 921 ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น (Condensed Matter Physics)

3(3-0-9)

1131 922 การคำนวณโครงสร้างแถบพลังงาน (Band Structure Calculations)

3(3-0-9)

1131 923 วิธีทางคณิตศาสตร์ขั้นสูงสำหรับฟิสิกส์ 

(Advanced Mathematical Methods for Physics)

3(3-0-9)

1131 924 กลศาสตร์สถิติขั้นสูง (Advanced Statistical Mechanics)

3(3-0-9)

1131 925 กลศาสตร์ควอนตัมขั้นสูง (Advanced Quantum Mechanics)

3(3-0-9)

1131 926 ไฟฟ้าพลศาสตร์คลาสสิกขั้นสูง (Advanced Classical Electrodynamics)

3(3-0-9)

1131 927 วิธีการคำนวณทางคอมพิวเตอร์ฟิสิกส์เชิงโมเลกุลและสเปกโทรสโกปี

(Computational Methods in Molecular Physics and Spectroscopy)

3(3-0-9)

1.2.2 กลุ่มวิชาฟิสิกส์วัสดุ

 

1131 941 ฟิสิกส์ของฟิล์มบาง (Physics of Thin Films)

3(2-2-8)

1131 942 ฟิสิกส์ของพื้นผิวและรอยต่อ (Physics of Surfaces and Interfaces)

3(3-0-9)

1131 943 สภาวะแม่เหล็กและวัสดุแม่เหล็ก (Magnetism and Magnetic Materials)

3(3-0-9)

1131 944 อภิวัสดุ (Metamaterials)

3(3-0-9)

1131 945 การตรวจสอบคุณลักษณะด้วยซินโครตรอน 

(Synchrotron-based Characterizations)

3(3-0-9)

1131 946 วัสดุหน้าที่พิเศษขั้นสูงและอุปกรณ์ 

(Advanced Functional Materials and Devices)

3(3-0-9)

1131 947 เทคโนโลยีของแก้วและการประยุกต์ 

(Glass Technology and Application)

3(3-0-9)

1131 948 หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์วัสดุขั้นสูง 1 

(Selected Topic in Advanced Materials Physics I)

3(3-0-9)

1131 949 หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์วัสดุขั้นสูง 2 

(Selected Topic in Advanced Materials Physics II)

3(3-0-9)

1.2.3 กลุ่มวิชาฟิสิกส์ชีวการแพทย์

 

1131 961 นิวเคลียร์อิเล็กทรอนิกส์ (Nuclear Electronics)

3(3-0-9)

1131 962 เทคโนโลยีแสงสำหรับชีวการแพทย์ (Biomedical Photonics)

3(3-0-9)

1131 963 เทคโนโลยีอุปกรณ์การแพทย์ขั้นสูง 

(Advanced Medical Device Technology)

3(3-0-9)

1131 964 เครื่องมือตรวจรู้สมัยใหม่และระบบเครื่องมือวัด 

(Modern Sensors and Instrumentation Systems)

3(2-2-8)

1131 965 หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์ชีวการแพทย์ขั้นสูง 1 

(Selected Topics in Advanced Biomedical Physics I)

3(3-0-9)

1131 966 หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์ชีวการแพทย์ขั้นสูง 2 

(Selected Topics in Advanced Biomedical Physics II)

3(3-0-9)



 

2. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ จำนวน 36     หน่วยกิต

1131 997  วิทยานิพนธ์ (Thesis)           36     หน่วยกิต

 

แบบ 2.2 ไม่น้อยกว่า 72     หน่วยกิต

1. หมวดวิชาเฉพาะ  ไม่น้อยกว่า 24     หน่วยกิต

1.1 กลุ่มวิชาบังคับ

จำนวน

15     หน่วยกิต

1131 801 กลศาสตร์คลาสสิก (Classical Mechanics)

3(3-0-9)

1131 802 กลศาสตร์ควอนตัม (Quantum Mechanics)

3(3-0-9)

1131 803 ไฟฟ้าพลศาสตร์คลาสสิก (Classical Electrodynamics)

3(3-0-9)

1131 901 ระเบียบวิธีวิจัยทางฟิสิกส์ (Research Methods in Physics)

3(3-0-9)

1131 991 สัมมนา 1 (Seminar I)

1 หน่วยกิต

1131 992 สัมมนา 2 (Seminar II)

1 หน่วยกิต

1131 993 สัมมนา 3 (Seminar III)

1 หน่วยกิต

1131 994 สัมมนา 4 (Seminar IV)

1 หน่วยกิต

 

1.2 กลุ่มวิชาเลือก   ไม่น้อยกว่า   9     หน่วยกิต

     นักศึกษาสามารถเลือกรายวิชาแบบคละกลุ่มได้รวมกันไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต ที่สอดคล้องกับขอบเขตความเชี่ยวชาญในงานวิจัยวิทยานิพนธ์ หรือตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

1.2.1 กลุ่มวิชาฟิสิกส์ทฤษฎี

 

1131 921 ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น (Condensed Matter Physics)

3(3-0-9)

1131 922 การคำนวณโครงสร้างแถบพลังงาน (Band Structure Calculations)

3(3-0-9)

1131 923 วิธีทางคณิตศาสตร์ขั้นสูงสำหรับฟิสิกส์ 

(Advanced Mathematical Methods for Physics)

3(3-0-9)

1131 924 กลศาสตร์สถิติขั้นสูง (Advanced Statistical Mechanics)

3(3-0-9)

1131 925 กลศาสตร์ควอนตัมขั้นสูง (Advanced Quantum Mechanics)

3(3-0-9)

1131 926 ไฟฟ้าพลศาสตร์คลาสสิกขั้นสูง (Advanced Classical Electrodynamics)

3(3-0-9)

1131 927 วิธีการคำนวณทางคอมพิวเตอร์ฟิสิกส์เชิงโมเลกุลและสเปกโทรสโกปี

(Computational Methods in Molecular Physics and Spectroscopy)

3(3-0-9)

1.2.2 กลุ่มวิชาฟิสิกส์วัสดุ

 

1131 941 ฟิสิกส์ของฟิล์มบาง (Physics of Thin Films)

3(2-2-8)

1131 942 ฟิสิกส์ของพื้นผิวและรอยต่อ (Physics of Surfaces and Interfaces)

3(3-0-9)

1131 943 สภาวะแม่เหล็กและวัสดุแม่เหล็ก (Magnetism and Magnetic Materials)

3(3-0-9)

1131 944 อภิวัสดุ (Metamaterials)

3(3-0-9)

1131 945 การตรวจสอบคุณลักษณะด้วยซินโครตรอน 

(Synchrotron-based Characterizations)

3(3-0-9)

1131 946 วัสดุหน้าที่พิเศษขั้นสูงและอุปกรณ์ 

(Advanced Functional Materials and Devices)

3(3-0-9)

1131 947 เทคโนโลยีของแก้วและการประยุกต์ 

(Glass Technology and Application)

3(3-0-9)

1131 948 หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์วัสดุขั้นสูง 1 

(Selected Topic in Advanced Materials Physics I)

3(3-0-9)

1131 949 หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์วัสดุขั้นสูง 2 

(Selected Topic in Advanced Materials Physics II)

3(3-0-9)

1.2.3 กลุ่มวิชาฟิสิกส์ชีวการแพทย์

 

1131 961 นิวเคลียร์อิเล็กทรอนิกส์ (Nuclear Electronics)

3(3-0-9)

1131 962 เทคโนโลยีแสงสำหรับชีวการแพทย์ (Biomedical Photonics)

3(3-0-9)

1131 963 เทคโนโลยีอุปกรณ์การแพทย์ขั้นสูง 

(Advanced Medical Device Technology)

3(3-0-9)

1131 964 เครื่องมือตรวจรู้สมัยใหม่และระบบเครื่องมือวัด 

(Modern Sensors and Instrumentation Systems)

3(2-2-8)

1131 965 หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์ชีวการแพทย์ขั้นสูง 1 

(Selected Topics in Advanced Biomedical Physics I)

3(3-0-9)

1131 966 หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์ชีวการแพทย์ขั้นสูง 2 

(Selected Topics in Advanced Biomedical Physics II)

3(3-0-9)

 

2. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ จำนวน     48 หน่วยกิต

1131 998 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

48  หน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

แผนการศึกษา แบบ 1.1 

ปีที่ 1 (Frist Year)

  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 992 สัมมนา 2 (Seminar II)

1*

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 996 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

รวม

8 หน่วยกิต

หมายเหตุ: 1.  * ไม่นับหน่วยกิตและมีเกณฑ์การประเมินผลเป็น S หรือ U

              2. นักศึกษาต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ภายในภาคการศึกษาที่ 1

 

ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 993 สัมมนา 3 (Seminar III)

1*

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 996 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต

หมายเหตุ: * ไม่นับหน่วยกิตและมีเกณฑ์การประเมินผลเป็น S หรือ U

             

ปีที่ 2 (Second Year)

ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 994 สัมมนา 4 (Seminar IV)

1*

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 996 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต

หมายเหตุ: * ไม่นับหน่วยกิตและมีเกณฑ์การประเมินผลเป็น S หรือ U

 

ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 996 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต

 

ปีที่ 3 (Third Year)

ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 996 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต

 

ภาคการศึกษาปลาย  (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 996 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต




แผนการศึกษา แบบ 2.1 

ปีที่ 1 (First Year)

ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 901 ระเบียบวิธีวิจัยทางฟิสิกส์     

              (Research Methods in Physics)

3(3-0-9)

1131 992 สัมมนา 2 (Seminar II)

1

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาเลือก

1131 9xx รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก 1 (Elective I)

3

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 997 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

6

รวม

13 หน่วยกิต

 

ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 993 สัมมนา 3 (Seminar III)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาเลือก

1131 9xx รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก 2 (Elective II)

3

1131 9xx รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก 3 (Elective III)

3

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 997 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

6

รวม

13 หน่วยกิต

หมายเหตุ: นักศึกษาต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ภายในภาคการศึกษาที่ 2

 

ปีที่ 2 (Second Year)

ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 994 สัมมนา 4 (Seminar IV)

1

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 997 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

6

รวม

7 หน่วยกิต

 

ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 997 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

6

รวม

6 หน่วยกิต

 

ปีที่ 3 (Third Year)

ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 997 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

6

รวม

6 หน่วยกิต

 

ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 997 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

6

รวม

6 หน่วยกิต



 

แผนการศึกษาแบบ 2.2

ปีที่ 1  (First Year)

ภาคการศึกษาต้น  (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 801 กลศาสตร์คลาสสิก 

              (Classical Mechanics)

3(3-0-9)

1131 802 กลศาสตร์ควอนตัม 

              (Quantum Mechanics)

3(3-0-9)

1131 901 ระเบียบวิธีวิจัยทางฟิสิกส์  

              (Research Methods in Physics)

3(3-0-9)

1131 991 สัมมนา 1 (Seminar I)

รวม 

10 หน่วยกิต

 

ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 803 ไฟฟ้าพลศาสตร์คลาสสิก 

              (Classical Electrodynamics )

3(3-0-9)

1131 992 สัมมนา 2 (Seminar II)

1

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาเลือก

1131 9xx รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก 1 (Elective I)

3

รวม 

7 หน่วยกิต

หมายเหตุ: นักศึกษาต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ภายในภาคการศึกษาที่ 2


ปีที่ 2 (Second Year)

ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 993 สัมมนา 3 (Seminar III)

1

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาเลือก

1131 9xx รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก 2

(Elective II)

3

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 998 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม 

12 หน่วยกิต

 

ภาคการศึกษาปลาย  (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาบังคับ

1131 994 สัมมนา 4 (Seminar IV)

1

หมวดวิชาเฉพาะ 

กลุ่มวิชาเลือก

1131 9xx รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก 3 

(Elective III)

3

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 998 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

12 หน่วยกิต

 

ปีที่ 3  (Third Year)

ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 998 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต

 

ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 998 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต

 

ปีที่ 4 (Fourth Year)

ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 998 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต

 

ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต 

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

1131 998 วิทยานิพนธ์ (Thesis)

8

รวม

8 หน่วยกิต

 

เอกสารเพิ่มเติม

  มคอ_2-ปรด-หลักสูตรปรับปรุง-พ_ศ_-2565.pdf  อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา-พ_ศ_-2563.pdf

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน

  ผศ.ดร.กาญจนา ศิวเลิศพร ( ประธานหลักสูตร )

Research Overview
Research Overview

1. การประยุกต์ใช้รังสี การวัดปริมาณรังสีด้วยเทคนิค TLD

2. วัสดุแก้ว สำหรับกำบังรังสี

3. วัสดุแก้วสำหรับใช้เป็นแก้ว LED