ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี
ชื่อหลักสูตร
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Chemistry
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อย่อภาษาไทย : ปร.ด.(เคมี)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy (Chemistry)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : Ph.D.(Chemistry)
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
ความสำคัญของหลักสูตร
การพัฒนาประเทศเพื่อให้คนในสังคมมีคุณภาพชีวิตด้านต่างๆ ที่ดีและยั่งยืน นอกจากจะต้องเร่งพัฒนาคนแล้ว ยังต้องส่งเสริมความก้าวหน้าในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อนำทรัพยากรต่างๆ มาใช้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพสูงสุดและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งการทำให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างแท้จริงแล้ว จำเป็นต้องสร้าง พัฒนาและสนับสนุนบุคคลากรทางวิทยาศาสตร์ที่มีความรู้ความสามารถขึ้นมา ด้วยความจำเป็นดังกล่าว ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะด้านเคมี เพื่อตอบสนองความต้องการกำลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาประเทศและรองรับการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นจึงได้เปิดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี เพื่อรองรับการผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการและการวิจัยระดับสูงในสาขาวิชาเคมี สามารถค้นคว้า ริเริ่มและสร้างสรรค์ให้เกิดองค์ความรู้และผลงานวิจัย รู้จักคิดวิเคราะห์ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้สร้างนวัตกรรมใหม่ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศได้
ปรัชญาของหลักสูตร
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี มุ่งเน้นผลิตนักวิชาการและนักวิจัยที่มีความรู้ความสามารถระดับสูงในสาขาวิชาเคมี สามารถสร้างนวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ทางเคมีที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ สามารถวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และวางแผนได้อย่างเป็นระบบ มีคุณธรรมในการดำรงชีวิต สามารถพัฒนาความรู้ในสาขาวิชาอย่างต่อเนื่อง เสริมสร้างศักยภาพของตนเองและสังคม และสนองตอบความต้องการด้านกำลังคนทางวิทยาศาสตร์ของประเทศ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เมื่อสำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้แล้ว บัณฑิตจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้
- มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงานทางวิชาการและการวิจัย
- สร้างนวัตกรรม องค์ความรู้ใหม่ และบูรณาการความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติเพื่อค้นคว้าวิจัยและสร้างนวัตกรรมขั้นสูง ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านเคมี
- มีความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของตนเอง และประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสม
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางเคมีอย่างเป็นระบบและสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สร้างความสัมพันธ์อันดีต่อเพื่อนร่วมงาน เป็นผู้นำ ทำงานเป็นทีมได้ และมีความรับผิดชอบต่อสภาวะแวดล้อม
- สื่อสารและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและทันสมัย
- มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วสามารถประกอบอาชีพได้ในสาขาต่างๆ นักวิชาการ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ รับราชการในภาครัฐหรือทำงานวิจัยระดับสูงในภาคอุตสาหกรรม หรือเป็นผู้ประกอบการอิสระ เช่น ดำเนินกิจการที่ต้องใช้ความรู้และเทคโนโลยีขั้นสูงทางเคมี ดำเนินกิจการด้านการออกแบบ ผลิตและจำหน่ายชิ้นงานนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางเคมี ผลงานต้นแบบหรือสารสำคัญสำหรับผสมในผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพจากธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ใช้สำหรับการวัดลักษณะเซนเซอร์และชุดทดสอบ และต้นแบบผลิตภัณฑ์สารตัวเร่งปฏิกิริยาใหม่ ๆ ระดับอุตสาหกรรม ต้นแบบนวัตกรรมด้านแหล่งพลังงานใหม่ ๆ เป็นต้น
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี เป็นหลักสูตรเต็มเวลา ใช้ระยะเวลาในการศึกษาดังนี้
หลักสูตร
ระยะเวลาในการศึกษา | (ปี) |
---|---|
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี แบบ 1.1 | 3 ปีการศึกษาและไม่เกิน 6 ปีการศึกษา |
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี แบบ 2.1 | 3 ปีการศึกษาและไม่เกิน 6 ปีการศึกษา |
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี แบบ 2.2 | 4 ปีการศึกษาและไม่เกิน 8 ปีการศึกษา |
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ดังนี้
แบบ 1.1 | จำนวน 48 หน่วยกิต |
แบบ 2.1 | ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต |
แบบ 2.2 | ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต |
โครงสร้างหลักสูตร ดังนี้
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2558 มีโครงสร้างหลักสูตรดังนี้
1) แบบ 1.1
ก. หมวดวิชาเฉพาะ | ||
1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิต) | จำนวน | 4* หน่วยกิต |
2) กลุ่มวิชาบังคับ | จำนวน | - หน่วยกิต |
ข. หมวดวิชาเลือก | จำนวน | - หน่วยกิต |
ค. หมวดวิทยานิพนธ์ | จำนวน | 48 หน่วยกิต |
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร | จำนวน | 48 หน่วยกิต |
หมายเหตุ * เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนเพิ่มเติม ไม่นำมานับหน่วยกิต และสำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จากสถาบันอื่นอาจจำเป็นต้องลงทะเบียนเรียนบางวิชาเพิ่มเติมจากหน่วยกิตที่กำหนดตามดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษา และ/หรือ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
1) แบบ 2.1
ก. หมวดวิชาเฉพาะ | จำนวน | 7 หน่วยกิต |
1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิต) | จำนวน | 4 หน่วยกิต |
2) กลุ่มวิชาบังคับ | จำนวน | 3 หน่วยกิต |
ข.หมวดวิชาเลือก | ไม่น้อยกว่า | 5 หน่วยกิต |
ค.หมวดวิทยานิพนธ์ | จำนวน | 36 หน่วยกิต |
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร | ไม่น้อยกว่า | 48 หน่วยกิต |
หมายเหตุ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จากสถาบันอื่นอาจจำเป็นต้องลงทะเบียนเรียนบางวิชาเพิ่มเติมจากหน่วยกิตที่กำหนดตามดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษา และ/หรือ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
1) แบบ 2.2
ก. หมวดวิชาเฉพาะ | จำนวน | 17 หน่วยกิต |
1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิต) | จำนวน | 8 หน่วยกิต |
2) กลุ่มวิชาบังคับ | จำนวน | 9 หน่วยกิต |
ข.หมวดวิชาเลือก | ไม่น้อยกว่า | 7 หน่วยกิต |
ค.หมวดวิทยานิพนธ์ | จำนวน | 48 หน่วยกิต |
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร | ไม่น้อยกว่า | 72 หน่วยกิต |
หลักสูตรแบบ 1.1
ก.หมวดวิชาเฉพาะ
1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน
1121 961 | สัมมนา 3 (Seminar III)* | 1(0-2-2) |
1121 962 | สัมมนา 4 (Seminar IV)* | 1(0-2-2) |
1121 963 | โครงร่างการวิจัยทางเคมี(Research Proposal in Chemistry)* | 2(2-0-6) |
หมายเหตุ * เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนเพิ่มเติม ไม่นำมานับหน่วยกิต
2) กลุ่มวิชาบังคับ ไม่มี
ข.หมวดวิชาเลือก (Electives) ไม่มี
ค.หมวดวิทยานิพนธ์ (Thesis) จำนวน 48 หน่วยกิต
1121 901 | วิทยานิพนธ์ (Thesis) | จำนวน 48 หน่วยกิต |
หลักสูตรแบบ 2.1
ก.หมวดวิชาเฉพาะ
1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน จำนวน 4 หน่วยกิต
1121 961 | สัมมนา 3 (Seminar III) | 1(0-2-2) |
1121 962 | สัมมนา 4 (Seminar IV) | 1(0-2-2) |
1121 963 | โครงร่างการวิจัยทางเคมี (Research Proposal in Chemistry) | 2(2-0-6) |
2) กลุ่มวิชาบังคับ จำนวน 3 หน่วยกิต
ให้นักศึกษาเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ 1 รายวิชา จำนวน 3 หน่วยกิต
1121 911 | อินทรีย์สังเคราะห์ขั้นสูง (Advanced Organic Synthesis) | 3(3-0-9) |
1121 921 | ความรอบรู้ทางเคมีเชิงฟิสิกส์ (Comprehensive Physical Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 922 | เคมีพอลิเมอร์ขั้นสูง (Advanced Polymer Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 931 | เซนเซอร์และการใช้งาน (Sensors and their Applications) | 3(3-0-9) |
1121 941 | วิธีทางกายภาพในเคมีอนินทรีย์(Physical Methods in Inorganic Chemistry) | 3(3-0-9) |
ข. หมวดวิชาเลือก (Electives) ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต
ให้นักศึกษาเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ รวมกันไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต
1121 971 | การสังเคราะห์ด้วยออร์แกโนเมททัลลิก(Organometallics in Synthesis) | 3(3-0-9) |
1121 972 | งานวิจัยปัจจุบันทางเคมีวิเคราะห์(Current Research in Analytical Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 973 | เทคโนโลยีระดับนาโน (Nanotechnology) | 3(3-0-9) |
1121 974 | งานวิจัยแนวหน้าทางเคมีเชิงฟิสิกส์(Frontier Research in Physical Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 975 | หัวข้อพิเศษทางเคมีพอลิเมอร์และยาง(Special Topics in Polymer and Rubber Chemistry) | 2(2-0-6) |
หลักสูตรแบบ 2.2
ก. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 17 หน่วยกิต
1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน จำนวน 8 หน่วยกิต
1121 751 | สัมมนา 1 (Seminar I) | 1(0-2-2) |
1121 752 | สัมมนา 2 (Seminar II) | 1(0-2-2) |
1121 754 | ความปลอดภัยทางเคมีและการจัดการความเสี่ยง(Chemical Safety and Risk Management) | 2(2-0-6) |
1121 961 | สัมมนา 3 (Seminar III) | 1(0-2-2) |
1121 962 | สัมมนา 4 (Seminar IV) | 1(0-2-2) |
1121 963 | โครงร่างการวิจัยทางเคมี (Research Proposal in Chemistry) | 2(2-0-6) |
2) กลุ่มวิชาบังคับ จำนวน 9 หน่วยกิต
ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาจากกลุ่มวิชาเดียวกัน จำนวน 6 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาเคมีอินทรีย์
1121 711 | เคมีอินทรีย์ขั้นสูง (Advanced Organic Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 712 | ปฏิกิริยาทันสมัยในอินทรีย์สังเคราะห์ (Modern Organic Synthetic Reactions) | 3(3-0-9) |
1121 713 | สเปกโทรสโกปีขั้นสูงในเคมีอินทรีย์(Advanced Spectroscopy in Organic Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 714 | เคมีของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ(Chemistry of Natural Products) | 3(3-0-9) |
2.2) กลุ่มวิชาเคมีเชิงฟิสิกส์
(Mathematical Methods for Physical Chemistry)
1121 721 | กลศาสตร์ควอนตัม (Quantum Mechanics) | 3(3-0-9) |
1121 722 | เคมีเชิงฟิสิกส์ขั้นสูง 1 (Advanced Physical Chemistry I) | 3(3-0-9) |
1121 723 | เคมีเชิงฟิสิกส์ขั้นสูง 2 (Advanced Physical Chemistry II) | 3(3-0-9) |
1121 724 | วิธีทางคณิตศาสตร์สำหรับเคมีเชิงฟิสิกส์ | 3(3-0-9) |
2.3) กลุ่มวิชาเคมีวิเคราะห์
1121 731 | เทคนิคทางเคมีวิเคราะห์ (Techniques in Analytical Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 732 | วิธีทางสเปกโทรสโกปีขั้นสูงสำหรับการวิเคราะห์ทางเคมี(Advanced Spectroscopic Methods for Chemical Analysis) | 3(3-0-9) |
1121 733 | เทคนิคการแยกขั้นสูง (Advanced Separation Techniques) | 3(3-0-9) |
1121 734 | การออกแบบวิธีวิเคราะห์เพื่องานวิจัย(Design of Analytical Method for Research) | 3(3-0-9) |
2.4) กลุ่มวิชาเคมีอนินทรีย์
1121 741 | เคมีอนินทรีย์ขั้นสูง 1 (Advanced Inorganic Chemistry I) | 3(3-0-9) |
1121 742 | เคมีอนินทรีย์ขั้นสูง 2 (Advanced Inorganic Chemistry II) | 3(3-0-9) |
1121 743 | เคมีของสารออร์แกโนเมททัลลิก(Chemistry of Organometallic Compounds) | 3(3-0-9) |
และให้นักศึกษาเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ 1 รายวิชา จำนวน 3 หน่วยกิต
1121 911 | อินทรีย์สังเคราะห์ขั้นสูง (Advanced Organic Synthesis) | 3(3-0-9) |
1121 921 | ความรอบรู้ทางเคมีเชิงฟิสิกส์ (Comprehensive Physical Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 922 | เคมีพอลิเมอร์ขั้นสูง (Advanced Polymer Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 931 | เซนเซอร์และการใช้งาน (Sensors and their Applications) | 3(3-0-9) |
1121 941 | วิธีทางกายภาพในเคมีอนินทรีย์(Physical Methods in Inorganic Chemistry) | 3(3-0-9) |
ข. หมวดวิชาเลือก (Electives) ไม่น้อยกว่า 7 หน่วยกิต
ให้นักศึกษาเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ ไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต
1121 811 | เคมีของสารเฮทเทอโรไซคลิก (Heterocyclic Chemistry) | 2(2-0-6) |
1121 812 | ปฏิกิริยาเพอริไซคลิก (Pericyclic Reaction) | 2(2-0-6) |
1121 813 | หัวข้อพิเศษทางเคมีอินทรีย์ 1(Special Topics in Organic Chemistry I) | 2(2-0-6) |
1121 814 | หัวข้อพิเศษทางเคมีอินทรีย์ 2(Special Topics in Organic Chemistry II) | 2(2-0-6) |
1121 821 | ทฤษฎีกลุ่มและหลักการสมมาตร(Group Theory and Symmetry Principles) | 3(3-0-9) |
1121 822 | เคมีเชิงฟิสิกส์ของพอลิเมอร์ (Physical Chemistry of Polymers) | 3(3-0-9) |
1121 823 | นาโนเทคโนโลยีและเส้นใยนาโนพอลิเมอร์(Nanotechnology and Polymer Nanofibers) | 2(2-0-6) |
1121 824 | พอลิเมอร์ผสมและพอลิเมอร์นาโนคอมพอสิท(Polymer Blends and Polymer Nanocomposites) | 2(2-0-6) |
1121 825 | เคมีไฟฟ้าในเคมีเชิงฟิสิกส์(Electrochemistry in Physical Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 826 | เคมีคำนวณขั้นสูง (Advanced Computational Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 827 | การจำลองโมเลกุลและการออกแบบโมเลกุลด้วยคอมพิวเตอร์(Molecular Modeling and Computer Aided Molecular Design) | 3(3-0-9) |
1121 828 | หัวข้อพิเศษทางเคมีเชิงฟิสิกส์ 1(Special Topics in Physical Chemistry I) | 3(3-0-9) |
1121 829 | หัวข้อพิเศษทางเคมีเชิงฟิสิกส์ 2(Special Topics in Physical Chemistry II) | 3(3-0-9) |
1121 831 | เคมีวิเคราะห์เชิงไฟฟ้า (Electrochemical Analysis) | 3(3-0-9) |
1121 832 | หัวข้อพิเศษทางเคมีวิเคราะห์(Special Topics in Analytical Chemistry) | 2(2-0-6) |
1121 833 | เทคนิคการไหลทางเคมีวิเคราะห์(Flow Based Techniques in Analytical Chemistry) | 2(2-0-6) |
1121 841 | วัสดุศาสตร์ (Materials Science) | 2(2-0-6) |
1121 842 | เคมีสถานะของแข็ง (Solid State Chemistry) | 2(2-0-6) |
1121 843 | การเร่งปฏิกิริยา (Catalysis) | 2(2-0-6) |
1121 844 | หัวข้อพิเศษทางเคมีอนินทรีย์(Special Topics in Inorganic Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 851 | การเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) | 2(2-0-6) |
และให้นักศึกษาเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ รวมกันไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต
1121 971 | การสังเคราะห์ด้วยออร์แกโนเมททัลลิก(Organometallics in Synthesis) | 3(3-0-9) |
1121 972 | งานวิจัยปัจจุบันทางเคมีวิเคราะห์(Current Research in Analytical Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 973 | เทคโนโลยีระดับนาโน (Nanotechnology) | 3(3-0-9) |
1121 974 | งานวิจัยแนวหน้าทางเคมีเชิงฟิสิกส์(Frontier Research in Physical Chemistry) | 3(3-0-9) |
1121 975 | หัวข้อพิเศษทางเคมีพอลิเมอร์และยาง(Special Topics in Polymer and Rubber Chemistry) | 2(2-0-6) |
1) แบบ 1.1
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 963 |
โครงร่างการวิจัยทางเคมี |
ไม่นับหน่วยกิต |
วิทยานิพนธ์ |
1121 901 |
วิทยานิพนธ์ |
9 |
|
|
รวม |
9 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 961 |
สัมมนา 1* |
ไม่นับหน่วยกิต |
วิทยานิพนธ์ |
1121 901 |
วิทยานิพนธ์ |
9 |
|
|
รวม |
9 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 962 |
สัมมนา 2* |
ไม่นับหน่วยกิต |
วิทยานิพนธ์ |
1121 901 |
วิทยานิพนธ์ |
9 |
|
|
รวม |
9 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 901 |
วิทยานิพนธ์ |
9 |
|
|
รวม |
9 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 901 |
วิทยานิพนธ์ |
9 |
|
|
รวม |
9 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 901 |
วิทยานิพนธ์ |
3 |
|
|
รวม |
3 |
|
|
หน่วยกิตสะสมรวม |
48 |
2) แบบ 2.1
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาบังคับ |
1121 9XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาบังคับ |
3(3-0-9) |
วิชาเลือก |
1121 9XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก |
3(3-0-9) |
|
|
รวม |
6 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 961 |
สัมมนา 1 |
1(0-2-2) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 963 |
โครงร่างการวิจัยทางเคมี |
2(2-0-6) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 902 |
วิทยานิพนธ์ |
5 |
|
|
รวม |
8 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 962 |
สัมมนา 2 |
1(0-2-2) |
วิชาเลือก |
1121 9XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก |
2(2-0-6) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 902 |
วิทยานิพนธ์ |
6 |
|
|
รวม |
9 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 902 |
วิทยานิพนธ์ |
10 |
|
|
รวม |
10 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 902 |
วิทยานิพนธ์ |
10 |
|
|
รวม |
10 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 902 |
วิทยานิพนธ์ |
5 |
|
|
รวม |
5 |
|
|
หน่วยกิตสะสมรวม |
48 |
3) แบบ 2.2
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 754 |
ความปลอดภัยทางเคมีและการจัดการความเสี่ยง |
2(2-0-6) |
วิชาบังคับ |
1121 7XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาบังคับ |
3(3-0-9) |
วิชาบังคับ |
1121 7XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาบังคับ |
3(3-0-9) |
|
|
รวม |
8 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาบังคับ |
1121 9XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาบังคับ |
3(3-0-9) |
วิชาเลือก |
1121 9XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก |
3(3-0-9) |
วิชาเลือก |
1121 8XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก |
2(2-0-6) |
|
|
รวม |
8 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 751 |
สัมมนา 1 |
1(0-2-2) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 963 |
โครงร่างการวิจัยทางเคมี |
2(2-0-6) |
วิชาเลือก |
1121 9XX |
รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก |
2(2-0-6) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 903 |
วิทยานิพนธ์ |
2 |
|
|
รวม |
7 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 752 |
สัมมนา 2 |
1(0-2-2) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 903 |
วิทยานิพนธ์ |
9 |
|
|
รวม |
10 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 961 |
สัมมนา 3 |
1(0-2-2) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 903 |
วิทยานิพนธ์ |
10 |
|
|
รวม |
11 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิชาพื้นฐาน |
1121 962 |
สัมมนา 4 |
1(0-2-2) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 903 |
วิทยานิพนธ์ |
10 |
|
|
รวม |
11 |
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 903 |
วิทยานิพนธ์ |
10 |
|
|
รวม |
10 |
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วิทยานิพนธ์ |
1121 903 |
วิทยานิพนธ์ |
7 |
|
|
รวม |
7 |
|
|
หน่วยกิตสะสมรวม |
72 |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน
รศ.ดร.มะลิวรรณ อมตธงไชย ( ประธานหลักสูตร )
Research Overview
|
Research OverviewComputational Chemistry, Catalytic reactivity of nanomaterials |
Research OverviewMaterials Science วัสดุศาสตร์ |